สวัสดีค่ะผู้เยี่ยมชมทุกท่าน...ยินดีตอนรับเข้าสู่บล็อกของ * _* นางสาวสุพัตรา สุนิพันธ์ *_* บล็อกนี้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับครู ภาคเรียนที่ 2/2556 (ขอให้ทุกท่านมีความสุขในการเข้าชมนะค่ะ)
____________________________________________________________
คำอธิบายรายวิชา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เช่น ไมโครซอฟท์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ระบบการสื่อสารข้อมูล ระบบเน็ตเวิร์ค ระบบซอฟท์แวร์ การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ ทักษะการเข้าถึงสารสนเทศ ฐานข้อมูลสารสนเทศ ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์และการอ้างอิง ฝึกปฏิบัติการ สามารถใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมได้วัตถุประสงค์ในรายวิชา
เมื่อผู้เรียนศึกษาเนื้อหาบทเรียนจบแล้วตามหลักสูตรแล้วจะมีพฤติกรรมหรือความสามารถดังนี้
1. อธิบายความหมาย ความสำคัญ และองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศได้
2. อธิบายความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้
3. ยกตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในชีวิตจริงได้
4. อธิบายความหมายและความสำคัญของวิธีระบบได้
5. อธิบายความสัมพันธ์ของวิธีระบบกับเทคโนโลยีสารสนเทศได้
6. บอกความหมายและองค์ประสกอบสำคัญๆของคอมพิวเตอร์ได้
7. อธิบายหน้าที่ขององค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ได้
8. บอกประเภทและคุณสมบัติของซอฟท์แวร์แต่ละประเภทได้
9. บอกความหมายและความสำคัญของอินเตอร์เน็ตได้
10. บอกความสัมพันธ์ของเครือขายคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้
11. อธิบายแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่สามารถเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายได้
12. อธิบายวิธีประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาได้
13. ยกตัวอย่างโปรแกรมต่าง ๆ ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนได้
14. สร้างสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอนได้
15. นำเสนอสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งที่เป็นสื่อทั่วไปและสื่อระบบเครือข่ายได้
______________________________________________________________________
การจัดการเรียนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับครูในภาคเรียนที่ 2/2554 มุ่งเน้นในการใช้ความซื่อสัตย์เป็นเครื่องมือสำคัญเพื่อกำกับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งในแบบรายบุคคลและแบบทีม โดยมีเกณฑ์เบื้องต้นเป็นแนวทางในการปฏิบัติ 5 ระดับ ดังนี้
- ให้ข้อมูลที่บิดเบือนจากความจริงเป็นเหตุให้เกิดปัญหาหรือความเข้าใจผิด
- หลีกเลี่ยงการตักเตือนหรือแจ้งผู้ที่ทำผิดระเบียบ
- ปฏิเสธ/ไม่ยอมรับความผิดพลาดที่เกิดขึ้น
- ละเมิดระเบียบหรือกฎเกณฑ์อยู่เสมอ
2. ระดับตำกว่ามาตรฐาน
- ดูแลและรักษาทรัพย์สินหรือผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นบางครั้ง
- ตักเตือนหรือแจ้งผู้ทำผิดระเบียบหรือกฎเท่าที่จำเป็น
- ไม่ประพฤติตนตามระเบียบหรือกฎของส่วนร่วมเป็นบางครั้ง
3. ระดับมาตรฐานที่กำหนด
- รับฟังและไม่นำข้อมูลของผู้อื่นมาเปิดเผย
- ดูและและรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ของส่วนรวมอยู่เสมอ
- ไม่นำทรัพย์สินของส่วนรวมมาใช้ประโยชน์ส่วนตัว
- ประพฤติตนตามระเบียบหรือกฎอยู่เสมอ
4. สูงกว่ามาตรฐานที่กำหนด
- ไม่เปิดเผยข้อมูลของหน่วยงานที่อาจสร้างความขัดแย้งหรือปัญหาให้เกิดขึ้น
- ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสมกับกลุ่มคน เวลา และสถานการณ์
- ตักเตือนสมาชิกในทีมเมื่อทำผิดระเบียบหรือกฎ
- ยอมรับและหาทางแก้ไขความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการกระทำของตนเอง
5. สูงเกินกว่าที่มาตรฐานกำหนด
- แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบเห็นผู้ทำผิดระเบียบหรือกฎ
- ปลุกจิตสำนึกให้สมาชิกทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานมีจรรยาบรรณและคุณธรรมในการทำงาน
- นำทรัพย์สินของตนเองมาใช้เพื่อใครทำงานประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนด
กิจกรรมปลูกฝังจิตสำนึก"ความซื่อสัตย์"
1. นำเสนอตัวอย่างที่ดีอย่างสม่ำเสมอจนเกิดความเคยชินหรือเกิดความสงสัย
และสามารถตอบคำถามได้ว่าทำไมจึงทำเช่นนั้น
เมื่อเปรียบเทียบกับพฤติกรรมตรงกันข้ามจะได้รับผลอย่างไร
2. ยกย่องสรรเสริญให้เป็นขวัญและกำลังใจกับผู้ประกอบความดี ประพฤติปฏิบัติตนด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
3. แนะนำตักเตือนด้วยความหวังดีไม่มีอคติเมื่อผู้เรียนประพฤติไม่ถูกต้องเพื่อจะได้ปรับตนใหม่ให้เป็นไปตามวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม
4. ส่งเสริมให้เด็กหรือผู้เรียนมีประสบการณ์ตรง เช่น พูดคุย สัมภาษณ์บุคคลตัวอย่างในท้องถิ่น
5. ให้เด็กหรือผู้เรียนเรียนรู้ตามตัวอย่างจากสื่อต่าง ๆ เช่น นิทาน ละคร ภาพยนตร์ สารคดี ชีวิตจริงของบุคคลที่ประพฤติตนอย่างซื่อสัตย์สุจริต แล้ววิเคราะห์และสรุปผลด้วยตนเอง ให้ทำหลายๆ ครั้งอย่างสม่ำเสมอในสถานการณ์ที่แตกต่างกันทั้งที่รู้ตัวและไม่รู้ตัว
6. ส่งเสริมให้เด็กหรือผู้เรียนได้วิเคราะห์วิจารณ์เหตุการณ์หรือสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน หลาย ๆ ครั้ง ทั้งการวิเคราะห์เป็นกลุ่มและการวิเคราะห์ด้วยตนเอง เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจเชิงเหตุและผลทั้งด้านดีและไม่ดี และทั้งที่หาข้อยุติหรืออาจยังหาข้อยุติไม่ได้
7. ให้ได้แสดงเจตนารมณ์เป็นรายบุคคลหรือเป็นทีมที่จะประพฤติปฏิบัติตนในกรอบของความซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรมจริยธรรม เช่น การมีคติพจน์ประจำใจ การสร้างสัญลักษณ์ของพฤติกรรม ฯลฯ
ประเภทของความซื่อสัตย์
- ครู อาจารย์ เป็นบุคคลที่ต้องปฏิบัติหน้าที่โดยครบถ้วนสมบูรณ์และทุ่มเทความอุตสาหะอย่างเต็มที่ในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้เป็นศิษย์ นักเรียน และผู้ที่สนใจในการศึกษา จะต้องทำหน้าที่ใน
การอบรมสั่งสอน ถ่ายทอดความรู้ ทัศนคติที่ดีและถูกต้อง ปฏิบัติตัวให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูกศิษย์และคน
ทั่วไป จะปิดบังหรือบิดเบือนความรู้ไม่ได้ เพราะการกระทำดังกล่าวถือว่าเป็นความผิดขั้นมหันต์
- นักเรียน จำเป็นจะต้องมีความซื่อสัตย์ มีความซื่อตรง ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และแสวงหาวิชา
ความรู้ที่ถูกต้อง ขณะเดียวกันก็จะต้องมีคุณธรรม มีศีลธรรม ไม่กระทำโดยออกนอกกรอบบัญญัติของ
ศาสนา
2. ความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน เป็นการประกอบอาชีพการงานด้วยความซื่อตรง ตรงต่อเวลา ไม่บิดพลิ้ว หลีกเลี่ยง คดโกง ทุจริตในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ
3. ความซื่อสัตย์ต่อตนเอง บุคคลต้องซื่อสัตย์ต่อตนเองโดยดูแลรักษาสุขภาพให้มีความแข็งแรง กระปี้กระเปร่า มีความสุขทั้งกายและใจ ในหลายศาสนาได้บัญญัติข้อห้ามไม่ให้รับประทานอาหารที่เป็นโทษต่อร่างกายไว้ เช่น สุรา ยา เสพติด ซากสัตว์ที่ตายเอง นอกจากนี้ยังสอนให้ซื่อสัตย์ต่อสิ่งที่เป็น กรรมสิทธิ์หรือผู้ที่อยู่ภายให้การรับผิดชอบด้วยการดูแลเอาใจใส่ เช่น ทรัพย์สิน ตระกูล สามี ภรรยา พ่อแม่ เป็นต้น
เนื้อหาบทเรียน
หน่วยการเรียนที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนที่ 2 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยการเรียนที่ 3 คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนที่ 4 ซอฟต์แวร์
หน่วยการเรียนที่ 5 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนที่ 6 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนที่ 7 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนที่ 8 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
______________________________________________________________________
รูปแบบของกระบวนการเรียนการสอน
วิธีสอน :
เป็นการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning)
เนื้อหาบทเรียน
: เนื้อหาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับครู
เครื่องมือกำกับการเรียนรู้
: ความซื่อสัตย์(Integrity)
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. การบรรยายประกอบสื่อในชั้นเรียนปกติ (Traditional classroom)
2. การศึกษาค้นคว้าด้วยสื่อออนไลน์หรือเว็บบล็อก
3. การสรุปและนำเสนอในชั้นเรียนด้วยสื่อ ICT
4. การอภิปรายแสดงความคิดเห็น
5. การสรุปเป็นรายงาน
6. การทดสอบเพื่อวัดและประเมินผล
_____________________________________________________________________
ความซื่อสัตย์(Integrity)
เป็นพฤติกรรมหรือความสามารถ (competency) อย่างหนึ่งที่มีประโยชน์และมีคุณค่าในความเป็นมนุษย์ของบุคคล ช่วยให้เกิดความไว้วางใจ น่าเชื่อถือ และเป็นปัจจัยที่จะนำไปสู่ความสำเร็จในการเรียนรู้และดำเนินงานของบุคคลหรือองค์กรการจัดการเรียนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับครูในภาคเรียนที่ 2/2554 มุ่งเน้นในการใช้ความซื่อสัตย์เป็นเครื่องมือสำคัญเพื่อกำกับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งในแบบรายบุคคลและแบบทีม โดยมีเกณฑ์เบื้องต้นเป็นแนวทางในการปฏิบัติ 5 ระดับ ดังนี้
ระดับความซื่อสัตย์
1. ระดับตำกว่ามาตรฐานที่กำหนดอย่างมาก- ให้ข้อมูลที่บิดเบือนจากความจริงเป็นเหตุให้เกิดปัญหาหรือความเข้าใจผิด
- หลีกเลี่ยงการตักเตือนหรือแจ้งผู้ที่ทำผิดระเบียบ
- ปฏิเสธ/ไม่ยอมรับความผิดพลาดที่เกิดขึ้น
- ละเมิดระเบียบหรือกฎเกณฑ์อยู่เสมอ
2. ระดับตำกว่ามาตรฐาน
- ดูแลและรักษาทรัพย์สินหรือผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นบางครั้ง
- ตักเตือนหรือแจ้งผู้ทำผิดระเบียบหรือกฎเท่าที่จำเป็น
- ไม่ประพฤติตนตามระเบียบหรือกฎของส่วนร่วมเป็นบางครั้ง
3. ระดับมาตรฐานที่กำหนด
- รับฟังและไม่นำข้อมูลของผู้อื่นมาเปิดเผย
- ดูและและรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ของส่วนรวมอยู่เสมอ
- ไม่นำทรัพย์สินของส่วนรวมมาใช้ประโยชน์ส่วนตัว
- ประพฤติตนตามระเบียบหรือกฎอยู่เสมอ
4. สูงกว่ามาตรฐานที่กำหนด
- ไม่เปิดเผยข้อมูลของหน่วยงานที่อาจสร้างความขัดแย้งหรือปัญหาให้เกิดขึ้น
- ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสมกับกลุ่มคน เวลา และสถานการณ์
- ตักเตือนสมาชิกในทีมเมื่อทำผิดระเบียบหรือกฎ
- ยอมรับและหาทางแก้ไขความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการกระทำของตนเอง
5. สูงเกินกว่าที่มาตรฐานกำหนด
- แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบเห็นผู้ทำผิดระเบียบหรือกฎ
- ปลุกจิตสำนึกให้สมาชิกทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานมีจรรยาบรรณและคุณธรรมในการทำงาน
- นำทรัพย์สินของตนเองมาใช้เพื่อใครทำงานประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนด
กิจกรรมปลูกฝังจิตสำนึก"ความซื่อสัตย์"
1. นำเสนอตัวอย่างที่ดีอย่างสม่ำเสมอจนเกิดความเคยชินหรือเกิดความสงสัย
และสามารถตอบคำถามได้ว่าทำไมจึงทำเช่นนั้น
เมื่อเปรียบเทียบกับพฤติกรรมตรงกันข้ามจะได้รับผลอย่างไร2. ยกย่องสรรเสริญให้เป็นขวัญและกำลังใจกับผู้ประกอบความดี ประพฤติปฏิบัติตนด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
3. แนะนำตักเตือนด้วยความหวังดีไม่มีอคติเมื่อผู้เรียนประพฤติไม่ถูกต้องเพื่อจะได้ปรับตนใหม่ให้เป็นไปตามวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม
4. ส่งเสริมให้เด็กหรือผู้เรียนมีประสบการณ์ตรง เช่น พูดคุย สัมภาษณ์บุคคลตัวอย่างในท้องถิ่น
5. ให้เด็กหรือผู้เรียนเรียนรู้ตามตัวอย่างจากสื่อต่าง ๆ เช่น นิทาน ละคร ภาพยนตร์ สารคดี ชีวิตจริงของบุคคลที่ประพฤติตนอย่างซื่อสัตย์สุจริต แล้ววิเคราะห์และสรุปผลด้วยตนเอง ให้ทำหลายๆ ครั้งอย่างสม่ำเสมอในสถานการณ์ที่แตกต่างกันทั้งที่รู้ตัวและไม่รู้ตัว
6. ส่งเสริมให้เด็กหรือผู้เรียนได้วิเคราะห์วิจารณ์เหตุการณ์หรือสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน หลาย ๆ ครั้ง ทั้งการวิเคราะห์เป็นกลุ่มและการวิเคราะห์ด้วยตนเอง เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจเชิงเหตุและผลทั้งด้านดีและไม่ดี และทั้งที่หาข้อยุติหรืออาจยังหาข้อยุติไม่ได้
7. ให้ได้แสดงเจตนารมณ์เป็นรายบุคคลหรือเป็นทีมที่จะประพฤติปฏิบัติตนในกรอบของความซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรมจริยธรรม เช่น การมีคติพจน์ประจำใจ การสร้างสัญลักษณ์ของพฤติกรรม ฯลฯ
______________________________________________________________________
กิจกรรมแนะแนวทางการปฏิบัติตนในการเรียนรู้
1. ความซื่อสัตย์คืออะไร
2. ความซื่อสัตย์ตรงกับภาษาอังกฤษว่าอย่างไร(I)
3. ให้วิเคราะห์ "เปรียบเทียบ" กับคำอื่นๆที่มีความหมายใกล้เคียง(T)
4. วิเคราะห์ "ประโยชน์และคุณค่า" ของความซื่อสัตย์ (T)
5. ศึกษา "ความคิดเห็น" เกี่ยวกับความซื่อสัตย์โดยการสัมภาษณ์
- ผู้ปกครอง/ญาติ
- อาจารย์
- เพื่อต่างทีม
- บุคคลทั่วไป
6. ค้นคว้า "งานวิจัย" เกี่ยวกับความซื่อสัตย์(ระบุเครื่องมือและกิจกรรม)(T)
7. ศึกษา "พฤติกรรม" ความซื่อสัตย์จากสื่อ ICT (วิเคราะห์ปัญหา/แนวทางการแก้ไข )
8. ศึกษา "เนื้อหาสาระ" ความซื่อสัตย์จากเพลงเป็นรายบุคคล(T)
9. ศึกษา "เนื้อหาสาระ"ความซื่อสัตย์จากวรรณกรรม(I)
10. การเลือก "ประพฤติตน"เกี่ยวกับความซื่อสัตย์เป็นรายบุคคล (I)
11. การเลือก "ประพฤติตน" เกี่ยวกับความซื่อสัตย์เป็นทีม (T)
12. การสร้าง "เครื่องมือ" วัดความซื่อสัตย์รายบุคคลและทีม(T)
2. ความซื่อสัตย์ตรงกับภาษาอังกฤษว่าอย่างไร(I)
3. ให้วิเคราะห์ "เปรียบเทียบ" กับคำอื่นๆที่มีความหมายใกล้เคียง(T)
4. วิเคราะห์ "ประโยชน์และคุณค่า" ของความซื่อสัตย์ (T)
5. ศึกษา "ความคิดเห็น" เกี่ยวกับความซื่อสัตย์โดยการสัมภาษณ์
- ผู้ปกครอง/ญาติ
- อาจารย์
- เพื่อต่างทีม
- บุคคลทั่วไป
6. ค้นคว้า "งานวิจัย" เกี่ยวกับความซื่อสัตย์(ระบุเครื่องมือและกิจกรรม)(T)
7. ศึกษา "พฤติกรรม" ความซื่อสัตย์จากสื่อ ICT (วิเคราะห์ปัญหา/แนวทางการแก้ไข )
8. ศึกษา "เนื้อหาสาระ" ความซื่อสัตย์จากเพลงเป็นรายบุคคล(T)
9. ศึกษา "เนื้อหาสาระ"ความซื่อสัตย์จากวรรณกรรม(I)
10. การเลือก "ประพฤติตน"เกี่ยวกับความซื่อสัตย์เป็นรายบุคคล (I)
11. การเลือก "ประพฤติตน" เกี่ยวกับความซื่อสัตย์เป็นทีม (T)
12. การสร้าง "เครื่องมือ" วัดความซื่อสัตย์รายบุคคลและทีม(T)
_____________________________________________________________________
ความซื่อสัตย์
ความซื่ออสัตย์ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Honest หรือ integrity เป็นพฤติกรรมที่จริงใจตรงไปตรงมาไม่อคติไม่ลำเอียง เป็นความประพฤติที่สามารถนำมนุษย์และสังคมไปสู่ความสุขสงบได้ประเภทของความซื่อสัตย์
ความซื่อสัตย์แบ่งออกเป็นหลายประเภท เช่น
1. ความซื่อสัตย์ทางวิชาการ ผู้ที่มีความจำเป็นจะต้องรักษาความซื่อสัตย์ประเภทนี้ไว้คือ- ครู อาจารย์ เป็นบุคคลที่ต้องปฏิบัติหน้าที่โดยครบถ้วนสมบูรณ์และทุ่มเทความอุตสาหะอย่างเต็มที่ในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้เป็นศิษย์ นักเรียน และผู้ที่สนใจในการศึกษา จะต้องทำหน้าที่ใน
การอบรมสั่งสอน ถ่ายทอดความรู้ ทัศนคติที่ดีและถูกต้อง ปฏิบัติตัวให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูกศิษย์และคน
ทั่วไป จะปิดบังหรือบิดเบือนความรู้ไม่ได้ เพราะการกระทำดังกล่าวถือว่าเป็นความผิดขั้นมหันต์
- นักเรียน จำเป็นจะต้องมีความซื่อสัตย์ มีความซื่อตรง ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และแสวงหาวิชา
ความรู้ที่ถูกต้อง ขณะเดียวกันก็จะต้องมีคุณธรรม มีศีลธรรม ไม่กระทำโดยออกนอกกรอบบัญญัติของ
ศาสนา
2. ความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน เป็นการประกอบอาชีพการงานด้วยความซื่อตรง ตรงต่อเวลา ไม่บิดพลิ้ว หลีกเลี่ยง คดโกง ทุจริตในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ
3. ความซื่อสัตย์ต่อตนเอง บุคคลต้องซื่อสัตย์ต่อตนเองโดยดูแลรักษาสุขภาพให้มีความแข็งแรง กระปี้กระเปร่า มีความสุขทั้งกายและใจ ในหลายศาสนาได้บัญญัติข้อห้ามไม่ให้รับประทานอาหารที่เป็นโทษต่อร่างกายไว้ เช่น สุรา ยา เสพติด ซากสัตว์ที่ตายเอง นอกจากนี้ยังสอนให้ซื่อสัตย์ต่อสิ่งที่เป็น กรรมสิทธิ์หรือผู้ที่อยู่ภายให้การรับผิดชอบด้วยการดูแลเอาใจใส่ เช่น ทรัพย์สิน ตระกูล สามี ภรรยา พ่อแม่ เป็นต้น
______________________________________________________________________
สุพัตรา เริ่มต้นทำงานเรียนได้ดีมาก เรียบร้อย สวยงามและได้ใจความดี หากขยายเนื้อหาในทั้ง 3 แถบให้ยาวใกล้เคียงกันจะทำให้งานสมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น
ตอบลบมีความพยายามในการปรับปรุงผลงานให้มีความสมบูรณ์และสวยงาม ทำให้เว็บบล็อกเป็นแหล่งเรียนรู้ที่กว้างขวาง ซึ่งจะสามารถอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ของผู้เรียนหรือผู้ชมได้เป็นอย่างดี
ตอบลบ